วิสัยทัศน์ (Vision)
โรงเรียนบ้านหัวดอย จัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีคุณภาพมาตรฐาน มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มีคุณธรรม รักษ์วัฒนธรรมภูมิปัญญาไทย ดำรงชีวิตอย่างเป็นสุข ปลอดภัย ด้วยหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเทคโนโลยีดิจิทัลพันธกิจ (Mission)
- พัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษา
- ส่งเสริม พัฒนผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยมที่ดี และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์และอัตลักษณ์ “สุขภาพจิตดี มีทักษะชีวิต”
- ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะพื้นฐานทางอาชีพ และมีทักษะการดำรงชีวิต บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
- ส่งเสริมให้ผู้เรียนอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย และใส่ใจสิ่งแวดล้อม
- ส่งเสริมให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก เทคโนโลยีสารสนเทศ แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น
- ส่งเสริมและพัฒนาครูให้มีศักยภาพในการปฏิบัติงาน มีความรู้ความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ และใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อพัฒนางานและการเรียนรู้ของผู้เรียน
- จัดสภาพแวดล้อม สิ่งอำนวยความสะดวกและการบริการที่ส่งเสริมต่อการพัฒนาการเรียนรู้ และมีความปลอดภัย
- ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการ HUADOI MODEL
- ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษา
- ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยมที่ดี ตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์และอัตลักษณ์ “สุขภาพจิตดี มีทักษะชีวิต”
- ผู้เรียนมีทักษะพื้นฐานทางอาชีพ และมีทักษะการดำรงชีวิต บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
- ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย และใส่ใจสิ่งแวดล้อม
- ครูมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก เทคโนโลยีสารสนเทศ แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น
- ครูปฎิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความรู้ความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ และใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อพัฒนางานและการเรียนรู้ของผู้เรียน
- โรงเรียนมีสภาพแวดล้อม สิ่งอำนวยความสะดวกและการบริการ ที่ส่งเสริมต่อการพัฒนาการเรียนรู้ และมีความปลอดภัย
- โรงเรียนใช้เทคโนโลยีสารสนเทศระบบดิจิทัลบริหารจัดการ HUADOI MODEL โดยการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่นภาครัฐ เอกชน และประชาชนกลยุทธ์สถานศึกษา
ยกระดับและพัฒนาคุณภาพทางวิชาการของผู้เรียนตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ที่ 2
ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะค่านิยมที่ดีมีทักษะชีวิต และอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุขบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กลยุทธ์ที่ 3
พัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรให้มีสมรรถนะในการปฏิบัติงาน และจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
กลยุทธ์ที่ 4
พัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการโดย การมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย เน้นกระบวนการสุจริต และใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
H: Hybrid (การผสมผสาน)
- การยืดหยุ่นและปรับเปลี่ยนวิธีการได้ตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง
- การจัดการเรียนการสอนในรูปแบบแบบผสมผสานที่หลากหลาย
- มีความก้าวหน้าทางการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาคุณลักษณะการเป็นบุคคลแห่งศตวรรษที่ 21
- การมีปฏิสัมพันธ์กันในกลุ่มการทำงานด้วยการนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยกระบวนการทำงานเพื่อการพัฒนา
- กำหนดเป้าหมายการทำงานที่ชัดเจน
- สร้างค่านิยมร่วมการพัฒนาคุณภาพ
- เน้นการทำงานเป็นทีม และการมีส่วนร่วม
- การยึดประโยชน์ส่วนรวมเป็นหลักในการทำภาระงาน
- วิเคราะห์สภาพแวดล้อม ปัจจัยภายใน-ภายนอกที่เกี่ยวข้อง
- การวางแผนนำนโยบายสู่การปฏิบัติจริง
- การดำเนินงานตามลำดับขั้น
- การกำหนดภาระงานที่ชัดเจน
- การใช้ (Use)
- เข้าใจ (Understand)
- การสร้าง (create)
- เข้าถึง (Access) เทคโนโลยีดิจิทัล ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- การศึกษาบริบท และภูมิสังคม
- การดำเนินการพัฒนาให้สอดคล้องกับนโยบายหน่วยงานต้นสังกัด
- การนำหลักของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในการปฏิบัติงาน
- การแสวงหาโอกาสในการพัฒนา
- มีธรรมาภิบาล ,ยึดถือหลักคุณธรรมจริยธรรม, ยึดมั่นในความชื่อสัตย์สุจริต
- มีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน,มีจรรยาบรรณในอาชีพ
- ความมีสำนึกรับผิดชอบ มีการดำเนินการตามภารกิจที่เชื่อถือได้และไว้วางใจได้
- องค์กรมีคุณภาพ และมีมาตรฐานที่สูง
รายงานผลการขับเคลื่อน
แผนพัฒนาด้านการพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์จังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
หน่วยงาน โรงเรียนบ้านหัวดอย สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เชียงราย เขต 1
ขื่อ สกุล ผู้ประสานงาน นางสาวณัฐปภัสร์ ปริยาภัสร์ เบอร์โทร 09 7954 2447
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การส่งเสริมความรู้เท่าทันสื่อ พฤติกรรมการใช้สื่อเชิงสร้างสรรค์ เฝ้าระวัง และตรวจสอบสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์
ตัวชี้วัดย่อย
หน่วยงาน โรงเรียนบ้านหัวดอย สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เชียงราย เขต 1
ขื่อ สกุล ผู้ประสานงาน นางสาวณัฐปภัสร์ ปริยาภัสร์ เบอร์โทร 09 7954 2447
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การส่งเสริมความรู้เท่าทันสื่อ พฤติกรรมการใช้สื่อเชิงสร้างสรรค์ เฝ้าระวัง และตรวจสอบสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์
ตัวชี้วัดย่อย
- มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ระหว่างภาคีเครือข่าย อย่างน้อยปีละ ๕ กิจกรรม
- มีกิจกรรมและมีสื่อรณรงค์ที่สร้างวัฒนธรรมการใช้สื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ อย่างน้อยปีละ ๒๐ กิจกรรมหรือชิ้น
- มีเครื่องมือหรือหลักสูตรการรู้เท่าทันสื่อ สำหรับผู้ผลิตสื่อ ประชาชน เด็ก และเยาวชน ผู้สูงอายุ และคนพิการ อย่างน้อยปีละ ๑๐ เครื่องมือหรือหลักสูตร
- มีช่องทางในการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแจ้งสถานการณ์สื่อไม่เหมาะสม อย่างน้อยปีละ ๒๐ ช่องทาง
- มีงานวิจัยเกี่ยวกับความรู้เท่าทันสื่อ สภาวการณ์ของสื่อ การสร้างการมีส่วนร่วม เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังสื่อ และพฤติกรรมการใช้สื่ออย่างสร้างสรรค์ของประชาชน เด็กและเยาวชนผู้สูงอายุ และคนพิการ อย่างน้อยปีละ ๓๐ เรื่อง
- มีจำนวนเครือข่ายในการเฝ้าระวังและตรวจสอบสื่อที่ไม่เหมาะสม อย่างน้อยปีละ ๑๐๐ เครือข่าย
โครงการ นักเรียนก้าวทันยุติการรังแกในโรงเรียนและโซเซียลมีเดีย อบรมปฏิบัติการ “พัฒนาความรู้ ทักษะชีวิต เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน รู้เท่าทันสื่อ ในยุคดิจิทัล”
- เพื่อพัฒนาความรู้ เพิ่มทักษะชีวิตให้นักเรียนรู้เท่าทันสื่ออินเตอร์เน็ตในยุคดิจิทัล
- เพื่อสร้างกระบวนการ เรียนรู้ให้นักเรียน ในการรู้เท่าทันสื่ออินเทอร์เน็ตสามารถเข้าถึงและ ใช้สื่ออินเทอร์เน็ต
- เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันอย่างสร้างสรรค์และปลอดภัยต่อสุขภาพของตน
- เพื่อสนับสนุนให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการป้องกัน รวมทั้งลดผลกระทบปัญหาที่จะเกิดจากสื่อในยุคดิจิทัล เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถนำความรู้เรื่องการรู้เท่าทันสื่อไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
ยินดีรับข้อติชมครับ